วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

การคูณและการหารเลขนัยสําคัญ




การคูณและการหารเลขนัยสำคัญ ให้ใช้วิธีการคูณและหารเหมือนทางคณิตศาสตร์ก่อน แล้วพิจารณาผลลัพธ์ที่ได้ โดยผลลัพธ์จะต้องมีจำนวนเลขนัยสำคัญเท่ากับจำนวนเลขนัยสำคัญของตัวคูณหรือตัวหารที่น้อยที่สุด เช่น

(1) 432.10 x 5.5 = 2376.55
ปริมาณ 432.10 มีจำนวนเลขนั อ่านเพิ่มเติม

ค่าความไม่แน่นอน



ก่อนเริ่มการคำนวณจะต้องมีความเข้าใจว่าค่าความไม่แน่นอนของแต่ละ input นั้นจะต้องเป็นหน่วยเดียวกัน และมีระดับของความเชื่อมั่นเดียวกันถึง
จะสามารถรวมกันเข้าไปได้ สิ่งที่จะต้องทำความเข้าใจไว้ก่อนประกอบด้วย

1 ความไม่แน่นอนมาตรฐาน (Standard Uncertainty)

ขนาดของความไม่แน่นอนมาตรฐานจะมีค่าเท่ากับบวก หรือ ลบ 1 ซิกม่า (1 ความเบ  อ่านเพิ่มเติม

หน่วยอนุพันธ์

           

หน่วยอนุพันธ์

 คือหน่วยที่เกิดจากการรวมกันของหน่วยฐานเอสไอโดยการคูณหรือหาร เพื่อใช้ในเรื่องการวัดและการแสดงปริมาณต่างๆ ซึ่งหน่วยอนุพันธ์สามารถมีได้มากมายไม่จำกัด เนื่องการปริมาณต่างๆในโลกนี้ที่คนเราอยากรู้ก็ไม่สามารถจำกัดได้ เพียงแต่เลือกหน่วยพื้นฐานมาประกอบเข้าด้วยกันให้ถูกต้อง อ่านเพิ่มเติม

ระบบหน่วยระหว่างชาติ


     การวัดปริมาณต่างๆทางด้านวิทยาศาสตร์นั้นนักวิทยาศาสตร์จะใช้ระบบหน่วยระหว่างชาติ (International System of Units) หรือ เรียกว่า ระบบ SI ซึ่งพัฒนามาจากระบบเมตริก เป็นระบบหน่วยมาตรฐานที่องค์กรระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน (ISO หรือ International Organization for Standardization) กำหนดขึนให้ทุกประเทศใช้เป็น มาตรฐานเพื่อให้การใช้หน่วยเป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วโลกโดยเฉพาะในวงการวิทยาศาสตร์ระบบเอสไอเป็นระบบที่ใช้กันเกือบทั้งโลก มีเพีอ่านเพิ่มเติม

คำอุปสรรค


       คำอุปสรรค (prefixes) เมื่อค่าในหน่วยฐานหรือหน่วยอนุพัทธ์น้อยหรือมากเกินไปเราอาจเขียนค่านั้นอยู่ในรูปตัวเลขคูณ ด้วย ตัวพหุคูณ (ตัวพหุคูณ คือ เลขสิบยกกำลังบวกหรือลบ) ได้ เช่น ระยะทาง 0.002 เมตร เขียนเป็น คำอธิบาย: http://www.rmutphysics.com/charud/oldnews/0/285/22/measurement/section2_p01_html_eqn1.gif เมตร แทนด้วยคำอุปสรรค มิลลิ (m) ดังนั้นระยะทาง0.002 เมตร อาจเขียนได้ว่า มิลลิเมตร คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณและสัญลักษณ์ แสดงไว้ในตาอ่านเพิ่มเติม